ตำนาน
พระปัมทปาณิ เป็นภาคสำแดงภาคหนึ่งของพระอวโลกิเตศวร บ้างก็บอกว่าเป็นภาคสำแดงต่อเนื่องของพระอมิตาภะ แต่อยู่ในรูปแบบที่ไม่เกี่ยวข้องกับวิธีการของตันตระ
พระปัทมปาณิมีภาพลักษณ์เป็นชาย มักปรากฏคู่กับพระวัชรปาณิ ในศิลปะสมัยมถุระ (ประมาณคริสต์ศตวรรษที่สอง) ในมือของท่านถือดอกบัว อาจเป็นดอกบานหรือดอกตูมทั้งก้าน บางครั้งก็ถือดอกบัว แต่แสดงท่าทางแบบเดียวกับพระมหาสถาปราปต์ ในยุคหลังศิลปินนิยมวางแจกันใส่น้ำทิพย์ (หรือน้ำอมตะ) ไว้ในมือข้างใดข้างหนึ่งของท่านด้วย
พระอวโลกิเตศวร ปางปัทมปาณิ ถือดอกบัวในพระหัตถ์ซ้าย (หักหายไปแล้ว)
ลักษณะ
พระปัทมปาณิมีภาพลักษณ์เป็นชาย มักปรากฏคู่กับพระวัชรปาณิ ในศิลปะสมัยมถุระ (ประมาณคริสต์ศตวรรษที่สอง) ในมือของท่านถือดอกบัว อาจเป็นดอกบานหรือดอกตูมทั้งก้าน บางครั้งก็ถือดอกบัว แต่แสดงท่าทางแบบเดียวกับพระมหาสถาปราปต์ ในยุคหลังศิลปินนิยมวางแจกันใส่น้ำทิพย์ (หรือน้ำอมตะ) ไว้ในมือข้างใดข้างหนึ่งของท่านด้วย
http://www.sac.or.th/databases/seaarts/th/sculptureth/อินโดนีเซีย/item/419-พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรภายในจันทิเมนดุต.html |
สุมาลี มหณรงค์ชัย. พระชินพุทธะห้าพระองค์ พระพุทธเจ้าในรูปกายทิพย์ตามคติของมหายานและวัชรยาน . พิมพ์ครั้งที่ 2 ปรับปรุงเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, 2552. หน้า 111 |
ภาพลักษณ์ของท่านมีหลากหลายและแตกต่างกันไปตามแต่ท้องถิ่นและคติความเชื่อ บางครั้งภาพของท่านก็อยู่คู่กับพระมัญชุศรีและพระวัชรปาณิเพื่อเป็นตัวแทนของโคตรทั้งสาม กล่าวคือ พระมัญชุศรีเป็นตัวแทนของตถาคตโคตร พระวัชรปาณิเป็นตัวแทนของวัชรโคตร และพระปัทมปาณิเป็นตัวแทนของปัทมโคตร
ทั้งสามโคตรถือเป็นตระกูลแห่งพระชินพุทธสามพระองค์ที่ได้รับความนิยมนับถือในยุคแรกๆ
ลักษณะเฉพาะ
พระโพธิ์สัตว์ปัทมปาณิผู้ถือดอกบัวนี้ ส่วนองค์ท่อนบนของพระโพธิสัตว์ ยืนเอียงพระวรกาย ทรงศิราภรณ์ สวมชฎามกุฎ พระพักตร์มน พระขนงเป็นสันนูนโค้งด้านบนเป็นร่อง พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์จีบ พระเนตรเหลือบต่ำ สวมสร้อยประคำและกรองศอ พระอังสาด้านซ้ายคล้องผ้าเฉวียงบ่า
ลักษณะเฉพาะ
พระอวโลกิเตศวร ปางปัทมปาณิ(ผู้ถือดอกบัว) จิตรกรรมที่ผนังถ้ำอชันตา หมายเลข1 ศิลปะคุปตะตอนปลาย หรือหลังคุปตะ(พุทธศตวรรษที่12) ถือกันว่าเป็นงานจิตรกรรมที่งดงามที่สุดภาพหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย
ศักติหรือเทวีของท่านคือพระนางตารา ซึ่งเทียบได้กับกวนอิมในพุทธศาสนาแบบจีน
ทั้งสามโคตรถือเป็นตระกูลแห่งพระชินพุทธสามพระองค์ที่ได้รับความนิยมนับถือในยุคแรกๆ
http://fafatravel.com/wp-content/uploads/2017/01/16142688_653357688169671_1106539425012350488_n.jpg |
พระโพธิ์สัตว์ปัทมปาณิผู้ถือดอกบัวนี้ ส่วนองค์ท่อนบนของพระโพธิสัตว์ ยืนเอียงพระวรกาย ทรงศิราภรณ์ สวมชฎามกุฎ พระพักตร์มน พระขนงเป็นสันนูนโค้งด้านบนเป็นร่อง พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์จีบ พระเนตรเหลือบต่ำ สวมสร้อยประคำและกรองศอ พระอังสาด้านซ้ายคล้องผ้าเฉวียงบ่า
ทรงเป็นบุคลาฐิษฐานของอุบาย ที่นำไปสู่ปัญญาเพื่อบรรลุพุทธภาวะ มีสองกร พระหัตถ์หนึ่งประทานพร อีกพระหัตถ์ทรงถือดอกบัว เป็นรูปแบบหนึ่งของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรที่มีผู้นับถืออย่างมาก ทั้งในศาสนาพุทธแบบมหายาน และวัชรยาน และเป็นพระโพธิสัตว์องค์สำคัญในศาสนาพุทธนิกายมหายานประจำยุคปัจจุบัน
http://fog.ccsf.cc.ca.us/~jcarpent/images/Indus%20and%20Buddhist%20Art/Bodhisattva_Ajanta.jpg |
พระอวโลกิเตศวร ปางปัทมปาณิ(ผู้ถือดอกบัว) จิตรกรรมที่ผนังถ้ำอชันตา หมายเลข1 ศิลปะคุปตะตอนปลาย หรือหลังคุปตะ(พุทธศตวรรษที่12) ถือกันว่าเป็นงานจิตรกรรมที่งดงามที่สุดภาพหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย
https://collectionapi.metmuseum.org/api/collection/v1/iiif/38335/152025/main-image |
https://collectionapi.metmuseum.org/api/collection/v1/iiif/50799/152023/main-image |
http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/uthong/images/b_model/uthong_model_2017_25.png |
ตัวอย่างงานศิลปะ
ชื่อโบราณวัตถุ : พระโพธิสัตว์ปัทมปาณิ (ปัทม : ดอกบัว/ปาณิ : ผู้ถือ)
แบบศิลปะ : ศรีวิชัย
ชนิด : สำริด
ขนาด : กว้าง 6 เซนติเมตร สูง 23.5 เซนติเมตร
อายุสมัย : ประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 - 15 (หรือราว 1,100 - 1,200 ปีมาแล้ว)
ลักษณะ : ประติมากรรมสำริดหล่อเป็นรูปพระโพธิสัตว์ปัทมปาณิหรือพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ซึ่งเป็น พระโพธิสัตว์องค์สำคัญในศาสนาพุทธนิกายมหายานประจำยุคปัจจุบัน ประทับยืนบนฐานบัว พระเกศาเกล้าเป็นมวยสูง มีรูปพระอมิตาภะปางสมาธิอยู่ที่หน้ามวยผม พระหัตถ์ขวาถือลูกประคำ พระหัตถ์ซ้ายถือก้านดอกบัวและคนโทน้ำ มีสายธุรำ (ยัชโญปวีต) พาดคล้องที่พระอังสาซ้าย
ประวัติ : ม.ร.ว. ทันพงษ์ กฤษดากร อธิบดีกรมสรรพสามิต มอบให้กรมศิลปากร เมื่อ 7 กันยายน 2507
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
พระอวโลกิเตศวร คือพระโพธิสัตว์ประจำกัลป์ปัจจุบัน โดยพระองค์ได้รับการเคารพยกย่องว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตากรุณา ทรงถือดอกบัวจึงเรียกขานพระองค์ในนามอื่นว่า ปัทมปาณิ ปางเปล่งรัศมีที่นิยมในศิลปะบายน คาดว่ามีที่มาจากคัมภีร์กรัณฑวยุหสูตร ที่มีข้อความกล่าวว่า พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทรงมีอานุภาพมาก ทุกรูขุมขนของพระองค์เทียบเท่ากับ 1 จักรวาล โดยจักรวาลจะมีพระพุทธเจ้าประทับอยู่ 1 องค์ บางครั้งทรงปรากฏพร้อมกับพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์วัชรปาณิ
แบบศิลปะ : ศรีวิชัย
ชนิด : สำริด
ขนาด : กว้าง 6 เซนติเมตร สูง 23.5 เซนติเมตร
อายุสมัย : ประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 - 15 (หรือราว 1,100 - 1,200 ปีมาแล้ว)
ลักษณะ : ประติมากรรมสำริดหล่อเป็นรูปพระโพธิสัตว์ปัทมปาณิหรือพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ซึ่งเป็น พระโพธิสัตว์องค์สำคัญในศาสนาพุทธนิกายมหายานประจำยุคปัจจุบัน ประทับยืนบนฐานบัว พระเกศาเกล้าเป็นมวยสูง มีรูปพระอมิตาภะปางสมาธิอยู่ที่หน้ามวยผม พระหัตถ์ขวาถือลูกประคำ พระหัตถ์ซ้ายถือก้านดอกบัวและคนโทน้ำ มีสายธุรำ (ยัชโญปวีต) พาดคล้องที่พระอังสาซ้าย
ประวัติ : ม.ร.ว. ทันพงษ์ กฤษดากร อธิบดีกรมสรรพสามิต มอบให้กรมศิลปากร เมื่อ 7 กันยายน 2507
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
พระอวโลกิเตศวร คือพระโพธิสัตว์ประจำกัลป์ปัจจุบัน โดยพระองค์ได้รับการเคารพยกย่องว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตากรุณา ทรงถือดอกบัวจึงเรียกขานพระองค์ในนามอื่นว่า ปัทมปาณิ ปางเปล่งรัศมีที่นิยมในศิลปะบายน คาดว่ามีที่มาจากคัมภีร์กรัณฑวยุหสูตร ที่มีข้อความกล่าวว่า พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทรงมีอานุภาพมาก ทุกรูขุมขนของพระองค์เทียบเท่ากับ 1 จักรวาล โดยจักรวาลจะมีพระพุทธเจ้าประทับอยู่ 1 องค์ บางครั้งทรงปรากฏพร้อมกับพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์วัชรปาณิ
อ้างอิง
สุมาลี มหณรงค์ชัย. พระชินพุทธะห้าพระองค์ พระพุทธเจ้าในรูปกายทิพย์ตามคติของมหายานและวัชรยาน . พิมพ์ครั้งที่ 2 ปรับปรุงเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, 2552. 165 หน้า : ภาพประกอบ.
พระโพธิ์สัตว์ปัทมปาณิ ปางหนึ่งของพระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์จาก http://fafatravel.com/2017/01/17/avalokitesvara-ajenta-caves/ สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
พระโพธิสัตว์ปัทมปาณิ (ปัทม : ดอกบัว/ปาณิ : ผู้ถือ) จาก http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/uthong/index.php/th/hilight/62-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B4-%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%A1-%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7-%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B4-%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%96%E0%B8%B7%E0%B8%AD.html สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร จาก http://paxpix.blogspot.com/2007/11/blog-post_5449.html สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรสำริด จาก http://www.sac.or.th/databases/seaarts/th/sculptureth/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2/item/441-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%94.html สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
อวโลกิเตศวรเปล่งรัศมี จาก http://www.sac.or.th/databases/seaarts/th/sculptureth/%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%8A%E0%B8%B2/item/513-%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A1%E0%B8%B5.html สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
The Bodhisattva Padmapani Lokeshvara จาก https://www.metmuseum.org/toah/hd/neps/hd_neps.htm สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
Tara, the Buddhist Savior จาก https://www.metmuseum.org/toah/works-of-art/66.179/ สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
The Bodhisattva Padmapani Lokeshvara จาก https://www.metmuseum.org/toah/hd/neps/hd_neps.htm สืบค้นเมื่อ 16/11/2018
Tara, the Buddhist Savior จาก https://www.metmuseum.org/toah/works-of-art/66.179/ สืบค้นเมื่อ 16/11/2018